“ผมเกิดและโตที่ลำพูน บ้านผมอยู่นอกเขตเทศบาล แต่ห่างจากเมืองแค่ 6 กิโลเมตร ตอนเด็กเรียนโรงเรียนประถมแถวบ้าน ก่อนเข้าเรียนมัธยมต้นที่โรงเรียนวัดพระธาตุหริภุญชัย ผมบวชเรียนอยู่ 2 ปี แล้วจึงย้ายไปเรียนมัธยมปลายที่โรงเรียนประจำจังหวัดหลังจากเรียนจบ ผมเข้ารับราชการ งานแรกอยู่ที่เชียงใหม่ ก่อนจะย้ายไปหลายเมือง กระทั่งได้กลับมาประจำที่เทศบาลเมืองลำพูนเมื่อธันวาคม 2566 แม้ในอนาคตอาจต้องย้ายตามระบบราชการ แต่ผมหวังเสมอว่าจะได้กลับมาประจำที่นี่อีกครั้ง สิ่งที่ทำให้ลำพูนเป็นเมืองที่พิเศษสำหรับผม ไม่ใช่แค่โบราณสถานหรือประวัติศาสตร์…
เมืองน่าอยู่อุดมสุข ด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อม และพลังของความร่วมมือ สู่เมืองน่าอยู่อุดมสุข กับความความร่วมมือ บพท. “สำหรับการทำงานปีนี้ร่วมกับ บพท. ถือว่าเป็นเรื่องใหม่ เพราะปีนี้เรานำโจทย์ของเทศบาลเป็นตัวตั้ง ส่วนหนึ่งผมคิดว่าเพราะเราทำงานร่วมกันมานาน และบพท. ก็มีแนวทางที่ชัดเจนว่าอยากสนับสนุนท้องถิ่น ด้วยงานวิจัย องค์ความรู้ และนวัตกรรม เพื่อช่วยพัฒนาเมืองให้น่าอยู่ ซึ่งตรงกับวิสัยทัศน์และแนวทางการทำงานของเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ของเรา ที่เราจะพัฒนาเมืองไปสู่การเป็นเมืองอุดมสุข อุดมสุข นั้นหมายความว่า เป็นเมืองน่าอยู่ น่าลงทุน น่าท่องเที่ยว แล้วก็น่าศึกษา หัวใจสำคัญของประเด็นทั้งหมดนี้ คือ…
ไม่เพียงแต่เทศบาลนครนครสวรรค์จะเป็นหนึ่งในเทศบาลแห่งแรกที่ได้รับการคัดเลือกโดย สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) ให้เป็น เมืองอัจฉริยะ (Smart City) ตั้งแต่ปี 2564 หากแต่ในปัจจุบัน เทศบาลนครซึ่งมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับต้น ๆ ของภาคกลางตอนบน ยังคงเดินหน้าพัฒนาเมืองภายใต้กรอบ Smart City ที่มุ่งสู่ความยั่งยืน ควบคู่ไปกับการยกระดับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เปลี่ยน "เมืองต้องผ่าน"…
“ผู้สูงอายุสำหรับผมไม่ใช่ภาระ แต่เป็นคลังปัญญาของสังคมเช่นนั้นแล้ว อย่าเรียกพวกเขาว่า ‘แก่’ เลย เรียก ‘ผู้เชี่ยวชาญชีวิต’ ดีกว่า” "ภารกิจดูแลสุขภาวะคนนนท์ กับเมืองที่พัฒนาแบบมีหัวใจ"สมนึก ธนเดชากุล นายกเทศมนตรีนครนนทบุรีสมนึก ธนเดชากุล นายกเทศมนตรีนครนนทบุรีคนปัจจุบัน เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2488 ปัจจุบันอายุ 79 ปีชายผู้มักสวมแว่นกันแดด…
บรรจง โฆษิตจิรนันท์ นายกเทศมนตรีเมืองร้อยเอ็ด และนายกสมาคมเทศบาลนครและเมือง ผมรู้สึกยินดีกับวันนี้ที่เป็นอีกก้าวของความสําเร็จที่ทาง บพท. มาร่วมมือกับทางท้องถิ่น จนเกิดการวิจัยร่วมกันในการที่จะสร้างและพัฒนาเมือง โดยใช้งานวิชาการเข้ามาช่วย อย่างที่อาจารย์ปุ่น กล่าวกับเรา ว่าเรากำลังร่วมกันออกเดินทาง ตอนนี้เราเราก็ร่วมกันเดินทางกันมาแล้ว 1 ปี ย้อนกลับไปก่อนที่จะเกิดโครงการ CIAP ขึ้นมา ตอนนั้นเรามีข้อเสนอจากทาง บพท. มาถึงทางสมาคมเทศบาลนครและเมือง เพราะเห็นว่าสมาคมฯ มีศักยภาพ และมองว่าน่าจะเป็นโอกาสสำคัญที่จะสามารถสร้างการวิจัยเชิงพื้นที่เพื่อนำไปสู่เป้าหมายการพัฒนาเมืองที่ชัดเจนได้ แล้วก็น่าจะสร้างตัวอย่างนําร่องให้กับท้องถิ่นทั่วทั้งประเทศ ซึ่งในวันนี้เรามีเทศบาลอยู่ทั่วประเทศกว่า 2,400 แห่ง เป็นเทศบาลเมืองและเทศบาลนครรวมแล้ว 225 แห่ง ซึ่งเป็นพื้นที่ที่เราก็สามารถคัดเลือกพื้นที่เฉพาะเจาะจงลงไปได้ และการที่สำคัญคือความตั้งใจ และความต้องการอยากร่วมมืองานของทางสมาคมที่เห็นประโยชน์กับการดำเนินการครั้งนี้ มีอยู่แล้วเป็นที่ตั้ง ตลอดการทำงานที่ผ่านมา เรามีนายกฯ จากหลายเมืองเข้าร่วม และเล็งเห็นประโยชน์ เพราะงานนี้เป็นงานวางรากฐานสร้างเมืองในระยะยาว แล้วก็สามารถที่จะเป็นประโยชน์กับพื้นที่ของทุกท่านในอนาคต แต่หัวใจสำคัญว่างานจะประสบความสำเร็จหรือไม่…
"เรามีโคม และเรามีคน คนลำพูนที่ช่วยกันทำโคมประดับเมือง ไม่ใช่แค่หลักร้อยหรือหลักพัน แต่เป็นหลักแสนดวง" นายกบุ่น - ประภัสร์ ภู่เจริญ ก้าวขึ้นมาดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีเมืองลำพูนครั้งแรกในปี 2538 ขณะมีอายุเพียงสามสิบต้น ๆ นับเป็นหนึ่งในนายกเทศมนตรีที่อายุน้อยที่สุดในประเทศ ณ ขณะนั้น ด้วยพื้นเพจากครอบครัวนักธุรกิจ ประกอบกับทีมงานรุ่นใหม่ที่มีแนวคิดก้าวหน้า เขาได้ผลักดันให้ลำพูนซึ่งเคยเป็นเพียงเมืองเล็ก ๆ ที่หลายคนมองข้าม กลายเป็นเมืองที่เต็มไปด้วยชีวิตชีวา โดดเด่นทั้งในด้านศิลปวัฒนธรรมและคุณภาพชีวิตของผู้คนหนึ่งในผลงานที่เห็นได้ชัดคือการปรับปรุงภูมิทัศน์รอบคูเมืองโบราณให้กลายเป็นสวนสาธารณะที่ร่มรื่น ขยายพื้นที่สีเขียว…
การกล่าวภาพรวมการขับเคลื่อนโปรแกรมบ่มเพาะและเร่งรัดกระบวนการเพื่อมุ่งสู่เมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาดระยะที่ 1บรรยายโดย ผศ. ดร.มณีรัตน์ วงษ์ซิ้ม หัวหน้าโครงการโปรแกรมบ่มเพาะและเร่งรัดกระบวนการเพื่อมุ่งสู่เมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาด CIAP | นายฉัตรกุล ชื่นสุวรรณกุล รองนายกเทศบาลเมืองสระบุรีและที่ปรึกษาโครงการฯ CIAP ภายในงาน เวทีแถลงความสําเร็จของเมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาดบนฐานงานวิจัยและนวัตกรรม ภายใต้โปรแกรมบ่มเพาะและเร่งรัดเพื่อมุ่งสู่เมืองน่าอยู่และชาญฉลาด (CIAP) วันที่ 19 มีนาคม 2568 เวลา 08.30 - 16.00 น.ณ ห้องประชุม กมลทิพย์ 2 (Kamolthip 2)…
ก่อนอื่นผมขอขอบคุณท่านนายกฯ สมาคมเทศบาลนครและเมือง เจ้าหน้าที่เทศบาล อาจารย์ นักวิจัยทุกท่าน ขอขอบคุณที่ร่วมยืนหยัดในเรื่องการใช้ความรู้ ใช้ข้อมูลเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง วันนี้เราจะได้รับฟังกันและกันถึงประสบการณ์ ที่เราร่วมทำงานกันเกือบ 1 ปี ที่ผ่านมาเราต่างพบว่า ข้อมูล คือ ต้นทุนสำคัญ วันนี้ความท้าทายจึงอยู่ที่ว่าเราจะทํายังไงเพื่อใช้ข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผมเชื่อมั่นว่าในเรื่องของความรู้ข้อมูล ถ้าไม่ลงมือทำในระดับ ท้องถิ่นของเรา โอกาสที่จะประสบความสําเร็จในงานพัฒนาเมืองจะเป็นไปได้ยากมาก เพราะอย่างที่เราทราบโครงสร้างสังคมและการบริหารของเรามันแยกส่วนเป็นขนมชั้น แบ่งระหว่างรัฐบาลส่วนกลาง ท้องถิ่นและภาคประชาชน การทำงานเป็นแบบแนวตั้ง ไม่ต่อเนื่องกัน และมีรอยแยก วัตถุประสงค์หลักของพวกเรา คือ การใช้ข้อมูลเมืองให้ได้มากที่สุด และผมคิดว่าเราน่าจะเป็นทีมแรกๆ ที่จัดการและใช้ข้อมูล ผสานกับองค์ความรู้ เทคโนโลยี และกลไกซึ่งก็คือผู้คน ช่วยกันสร้างเมืองที่เรารักให้น่าอยู่ กลไกที่เราพูดถึง คือ ผู้คน รวมกันเป็นขบวนแล้วออกเดินทางไปด้วยกัน คือ ขบวนของคนที่รัก เมือง และช่วยกันมองเมือง และตั้งคำถามว่าเมืองของเราเป็นอย่างไรเรารู้จักเมืองของเราดีแค่ไหน ตัวชี้วัดสําคัญ…
“สืบเนื่องจากงานวิจัยเมื่อปีก่อน (แนวทางการพัฒนาเมืองสระบุรีสู่เมืองแห่งการเรียนรู้ โดยคณาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากทุนวิจัยของบพท. ปี 2566) จนมาถึงงานวิจัยการพัฒนาฟื้นฟูศูนย์กลางพาณิชยกรรมเมืองสระบุรีเพื่อรับมือกับสภาวะเมืองหดตัวในปีนี้ ได้สำรวจพื้นที่เทศบาลเมืองสระบุรี ว่าพื้นที่ตรงไหนมีศักยภาพ ใครใช้ประโยชน์บ้าง ก็จะมีโครงการมารองรับการพัฒนาพื้นที่เหล่านี้เพื่อตอบโจทย์ให้คนยังอยากใช้ชีวิตอยู่ในเมือง รู้สึกว่าเมืองตอบโจทย์การใช้ชีวิต ด้านสุขภาพ ด้านการประกอบอาชีพ หรือการมีอนาคตที่ดีกับเมือง อยากลงหลักปักฐาน มากกว่าไปทำงานในกรุงเทพฯ คือสระบุรีจะมีรถไฟความเร็วสูง มีระบบคมนาคมขนส่ง…
“เราย้ายจากเทศบาลเมืองเขาสามยอด ลพบุรี มาอยู่เทศบาลเมืองสระบุรีประมาณ 2 ปี ก็พอดีกับท่านนายกฯ คนใหม่ (ธีรรัตน์ จึงยิ่งเรืองรุ่ง นายกเทศมนตรีเมืองสระบุรี ปี 2564-ปัจจุบัน) ที่เป็นคนหนุ่มรุ่นใหม่ไฟแรง วาง 4 ยุทธศาสตร์ ‘สร้างเมืองน่าอยู่ สร้างคนคุณภาพ’ ทำงานโดยการประสาน ลงพื้นที่…