/

ลำปาง เมืองแห่งการเรียนรู้จากฐานภูมิทางสังคมและวัฒนธรรม

Start
643 views
4 mins read

ร่วมเรียนรู้การเดินทางผ่านกาลเวลาอันยาวนานของผู้คนจากเมืองเขลางค์ เมืองเก่าที่เป็นชุมทางเชื่อมต่อของเมืองต่างๆ ในล้านนาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เมืองศูนย์กลางของรถไฟสายเหนือ และการเป็นใจกลาววิถีชีวิตเศรษฐกิจของคนในลุ่มน้ำวัง

โครงการ “การพัฒนาเมืองลำปางสู่เมืองแห่งการเรียนรู้ จากฐานภูมิทางสังคมและวัฒนธรรม” ดำเนินการ ดร.ขวัญนภา สุขคร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้งลำปาง ได้ศึกษาเมืองลำปางใน 3 ประเด็น ได้แก่

1. การจัดทำและประมวลข้อมูลท้องถิ่นศึกษา
2. พัฒนาระบบและกลไกเพื่อพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้จากฐานภูมิทางสังคมวัฒนธรรม โดยการมีส่วนร่วม
3. พัฒนาพื้นที่การเรียนรู้ พิพิธภัณฑ์มีชีวิต เสริมสร้างเศรษฐกิจชุมชน

ดร.ขวัญนภา สุขคร และทีมวิจัยได้ประมวลข้อมูลท้องถิ่นศึกษามานำเสนอไว้ในรูปแบบของกาลานุกรม (Timeline) พัฒนาการ การเปลี่ยนผ่านของย่านสบตุ๋ย ดังภาพด้านล่างนี้ และท่านสามารถดาวน์โหลดไฟล์ต้นฉบับได้ตามลิงค์ที่ให้ไว้

*ที่มา timeline/infographic : โครงการ “การพัฒนาเมืองลำปางสู่เมืองแห่งการเรียนรู้จากฐานภูมิทางสังคมและวัฒนธรรม” โดย ดร.ขวัญนภา สุขคร ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกที่ตั้งลำปาง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

ดัดแปลง/ เพิ่มเติม : WeCitizens

ดาวน์โหลดไฟล์ต้นฉบับได้ที่
https://drive.google.com/file/d/1HuSA_JDoRGKZPm2kU4psBpyVqWpbR9Yz/view?usp=sharing

ดาวน์โหลดไฟล์ต้นฉบับได้ที่
https://drive.google.com/file/d/1nakhwkjI-v_ht_mElYMsvLP2_ViLi3Gg/view?usp=sharing

ดาวน์โหลดไฟล์ต้นฉบับได้ที่
https://drive.google.com/file/d/1cEgxgG4iqV5RQ9sdq2a8oy0Fzb928wLN/view?usp=sharing


กองบรรณาธิการ

ในปีพ.ศ.2563-2564 หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ได้สนับสนุนและผลักดันการพัฒนาเมืองในประเทศไทยเพื่อพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ (Learning City) โดยเริ่มดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรมแล้วทั้งหมด 18 เมือง 20 ชุดโครงการ และ 41 ชุดโครงการย่อย