/

แก่งคอย…ย้อนรอยสงครามโลกเปลี่ยนบาดแผลประวัติศาสตร์สู่เมืองเรียนรู้ตลอดชีวิต

นอกจากจะถูกจดจำจากเพลงดังที่มีชื่อเดียวกับชื่ออำเภอของ ก้าน แก้วสุพรรณ และเพลงฮิตของคาราบาว ซึ่งสื่อถึงที่มาของชื่อ ‘แก่งคอย’ อย่าง ‘แร้งคอย’ หากไม่ใช่คนในพื้นที่ อาจนึกภาพไม่ออกว่าอำเภอของจังหวัดสระบุรีที่เป็นปากทางขึ้นอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่และประตูสู่ภาคอีสาน มีความสำคัญอย่างไร? ไม่เพียงเป็นเมืองท่าที่สำคัญในการขนส่งสินค้าผ่านแม่น้ำป่าสักและทางรถไฟ อำเภอแก่งคอย ยังเป็นจุดเริ่มต้น (ต่อจากอำเภอเมืองสระบุรี) ของถนนมิตรภาพ ถนนสายสำคัญที่รถทุกคันต้องวิ่งผ่านจากกรุงเทพฯ สู่ภาคอีสาน ไม่เพียงเท่านั้น อำเภอแห่งนี้ยังเรียงรายไปด้วยโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โดยเฉพาะโรงงานปูนซีเมนต์ อันเป็นแหล่งผลิตปูนที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ นั่นทำให้ที่นี่ยังเป็นอีกจุดเริ่มต้นของการพัฒนาประเทศด้านการก่อสร้างมาช้านาน ขณะเดียวกัน ผ่านแง่มุมประวัติศาสตร์ นอกจากแก่งคอยและอีกหลายเมืองในสระบุรี รวมถึงจังหวัดใกล้เคียงจะเป็นเมืองที่รัฐสยามได้กวาดต้อนชาวลาว ไทพวน และไทดำจากที่ต่างๆ มาตั้งรกรากในสมัยธนบุรีถึงต้นรัตนโกสินทร์ จนเกิดเป็นอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมอันเข้มแข็งส่งผ่านมาถึงปัจจุบัน ในประวัติศาสตร์ยุคใกล้

THAILAND LEARNING CITIES MAP

/

 “อนาคตของคนรุ่นใหม่กับการอยู่อาศัยในเมือง คือถ้าไม่มีกิจการ หรือเป็นลูกจ้างรัฐ ทำงานราชการ ผมก็นึกไม่ออกจริงๆ ว่างานที่มั่นคงและทำให้เราอยู่กับเมืองได้จริงๆ คืออะไร” 

/

อ่านเสียงแก่งคอย เสียงของเมืองที่ก้าวข้ามบาดแผลประวัติศาสตร์มาสู่เมืองแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต

WeCitizens ชวนผู้อ่านเรียนรู้เมืองแก่งคอย เมืองประวัติศาสตร์ที่มีบาดแผลจากสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ในวันนี้ แก่งคอยเปลี่ยนบาดแผลแห่งประวัติศาสตร์เป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต อ่านความคิด วิถีชีวิตผู้คนแก่งคอยได้ที่ WeCitizens : เสียงแก่งคอย, สระบุรี – WeCitizens Flip PDF | AnyFlip

/

“ขอนแก่นเราไม่ใช่เป็นเมืองที่นั่งรอคนเข้ามาทำนู่นนี่ให้”

เมืองขอนแก่น ผู้คน กับการเรียนรู้เพื่อก้าวต่อไป           ไม่มีภูเขา ไม่มีแม่น้ำสายใหญ่ อยู่ไกลโพ้นจากชายทะเล แหล่งท่องเที่ยวมีชื่อ หรือทรัพยากรธรรมชาติสำคัญก็น้อยนิด แต่มีคนที่เอาจริงเอาจังกับการพัฒนาเมืองกลุ่มใหญ่ที่กล้าคิดกล้าฝัน พยายามทำทุกลู่ให้ความหวังเป็นจริงได้ นี่คือปัจจัยที่ทำให้ช่วงเวลาเพียงกึงศตวรรษนำพาเมืองขอนแก่น เติบโตได้อย่างก้าวกระโดด  ‘ผู้คน และความร่วมมือ

/

ต้องไม่ลืมว่าขอนแก่นเองก็มีโครงการมากมาย และการเชื่อมร้อยทำความเข้าใจร่วมกันก็เป็นสิ่งสำคัญ Learning City เข้ามาเติมเต็มกลไกตรงนี้

“จริง ๆ การทำงานขับเคลื่อนเมืองแห่งการเรียนรู้ที่ขอนแก่น เข้ามาเติมเต็มให้กับขอนแก่นโมเดลในเรื่องเกี่ยวกับการสร้างความมีส่วนร่วมของประชาชน การสร้างความตระหนักรู้เพิ่มขึ้นให้กับผู้คน คือต้องเรียนตามตรงว่า ตัวขอนแก่นโมเดลที่ผ่านมาขับเคลื่อนในลักษณะองค์กร ภาคเอกชน วิชาการ ภาครัฐต่าง ๆ ประชาชนทั่วไปที่ไม่ได้ติดตามก็อาจจะงง ๆ อยู่ว่ามันคืออะไร แต่พอมีโครงการ

/

ความที่หอศิลป์เมืองกาฬสินธุ์ตั้งอยู่ใจกลางเมือง และใกล้สถานศึกษาหลายแห่ง พื้นที่นี้จึงเป็นเหมือนทั้งพื้นที่นัดหมาย หรือพักผ่อนของเด็กๆ ไปในตัว เหมือนให้พวกเขาได้มาใช้ประโยชน์และซึมซับศิลปะไปพร้อมกัน

WeCitizens นัดหมายกับ รศ.ดร.กตัญญู แก้วหานาม อาจารย์สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ที่บริเวณสวนสาธารณะริมปาว ติดกับศาลเจ้าพ่อโสมพะมิตร ในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ นี่เป็นการสนทนาที่อาจไม่ได้ราบรื่นนัก เพราะพื้นที่แห่งนี้กำลังจัดพิธีเปิดมหกรรมฟื้นใจเมือง ‘ภูมิถิ่น แก่งสำโรง โค้งสงเปลือย’

/

 “อนาคตของคนรุ่นใหม่กับการอยู่อาศัยในเมือง คือถ้าไม่มีกิจการ หรือเป็นลูกจ้างรัฐ ทำงานราชการ ผมก็นึกไม่ออกจริงๆ ว่างานที่มั่นคงและทำให้เราอยู่กับเมืองได้จริงๆ คืออะไร” 

1 2 3 69