Categories: Media

[ WeCitizens : เมืองพนัสนิคม]

สร้างเศรษฐกิจสร้างสรรค์และการบริหารจัดการพื้นที่เพื่อบูรณาการคนรุ่นใหม่ภายใต้แนวคิดการมีส่วนร่วมของเขตพัฒนาเทศบาลเมืองพนัสนิคม จ.ชลบุรี

WeCitizens (Vol.3) พนัสนิคมเมืองน่าอยู่อย่างชาญฉลาด

เมืองพนัสนิคม เมืองที่ได้รับการยอมรับว่าพรั่งพร้อมด้วยศักยภาพความเป็นเมืองน่าอยู่ รับรองด้วยรางวัลจากหลากหลายสถาบัน กับความท้าทาย และการแก้โจทย์สำคัญของเมือง จากปรากฏการณ์ “เมืองหด” ด้วยแนวทางการฟื้นฟูย่านเก่า และพัฒนาเมืองเพื่อชวนคนรุ่นใหม่กลับบ้าน

บอกเล่าเรื่องราวโดย นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองพนัสนิคม จ.ชลบุรี คุณวิจัย อัมราลิขิต คณะทำงานเจ้าหน้าที่เทศบาล

และหัวหน้าโครงการวิจัยพนัสนิคมเมืองน่าอยู่อย่างชาญฉลาด ดร. เอกลักษณ์ ณัถฤทธ์ิ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และคณะวิจัย

อ่าน Ebook: https://anyflip.com/jnmvd/ziau/

Download PDF File: https://drive.google.com/…/162MfeChvlg0RvJ10JC7…/view…

___

WeCitizens ดำเนินการผลิตโดย โปรแกรมบ่มเพาะและเร่งรัดกระบวนการเพื่อมุ่งสู่เมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาด สนับสนุนโดย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)

___

#เมืองพนัสนิคม#เทศบาลเมืองพนัสนิคม#เมืองหด#CIAP#โปรแกรมบ่มเพาะและเร่งรัดกระบวนการเพื่อมุ่งสู่เมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาด#บพท#PMUA#มหาวิทยาลัยบูรพา#WeCitizens

Wecitizens Editor

Recent Posts

[ ท้องถิ่น + วิชาการ อนาคตเมืองที่ออกแบบได้ ]<br />บรรจง โฆษิตจิรนันท์ นายกสมาคมเทศบาลนครและเมือง (ส.ท.น.ม.)

การทำงานวิชาการ ไม่ว่าจะเป็นงานวิจัย การทดลองต้นแบบ หรือการปฏิบัติการจริงบนฐานความรู้ร่วมกับชุมชน และหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประเทศไทยนั้นไม่ใช่เรื่องใหม่ วิธีการนี้ถูกติดตั้งและใช้งานกันมาจนคุ้นเคยผ่านระบบของสภาเทศบาล การทำงานของกองยุทธศาสตร์ และแผนงบประมาณ รวมไปถึงกลไกของภาคประชาชน บรรดานักวิชาการ ภาคประชาสังคม และเอกชน ทุกฝ่ายจึงต่างใช้เครื่องมือวิชาการ และงานวิจัยเป็นส่วนสำคัญในการดำเนินงานร่วมกับท้องถิ่นแทบทั้งสิ้น  แต่ในยุคที่ความท้าทายทางด้านเศรษฐกิจ…

3 days ago

[ เมืองหด เมืองอุทกภัย และการใช้งานวิจัยนำการพัฒนาเมือง ]<br />รศ. ดร.ชนิษฎา ชูสุข

รศ. ดร.ชนิษฎา ชูสุข คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ หัวหน้าคณะประสานงานโปรแกรม CIAP​ ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใต้ การทำงานร่วมกับโปรแกรมฯ ในภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใต้ อาจารย์เข้าไปมีส่วนช่วยสนับสนุนใน…

5 days ago

[เมืองเหนือ : เมืองวัฒนธรรม เกษตร ผู้สูงอายุ และ E-sport city]<br />ผศ. ดร.จุฑาทิพย์ เฉลิมผล

ผู้ช่วยอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และหัวหน้าคณะประสานงานโปรแกรม CIAP​ ภาคเหนือ “ส่วนดีนอกจากงานวิจัยจะเข้าไปช่วยงานเทศบาลได้แล้วก็คือ เราสามารถเปรียบเทียบงานพัฒนาเมืองในปัจจุบันของแต่ละพื้นที่ว่ามีความท้าทายอะไร และผลลัพธ์เป็นไปตามที่คาดหมายหรือไม่” การทำงานโดยใช้โปรแกรม CIAP ในปีนี้ถือว่าเป็นรูปแบบใหม่ เรื่องหนึ่งคือ บริบท และโจทย์ของแต่ละเมืองไม่เหมือนกัน แต่จากประสบการณ์การทำงานวิจัยพัฒนาเมืองของ…

6 days ago

[ CIAP 4 ภาค ผลักดันต้นแบบเมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาด ด้วยพลังท้องถิ่น และงานวิจัย ]<br />ผศ. ดร.มณีรัตน์ วงษ์ซิ้ม

หัวหน้าโปรแกรมบ่มเพาะและเร่งรัดกระบวนการเพื่อมุ่งสู่การเป็นเมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาด (CIAP) และหัวหน้าคณะประสานโปรแกรมฯ ภาคอีสาน “4 เมืองในอีสาน ต่างมุ่งไปที่เรื่องพัฒนาเศรษฐกิจ เพราะผู้นำเมือง มองเห็นแล้วว่า เมืองรองของอีสานวันนี้มีโอกาส และเติบโตได้จริง” เมืองในภาคอีสาน  “โปรแกรมนี้ เรื่องสำคัญ คือ โจทย์วิจัยเพื่อการพัฒนาเมืองต้องมาจากตัวเทศบาลเป็นหลัก…

6 days ago

[ ผู้คน – การเดินทาง – การพัฒนาเมืองของเราทุกคน ] อ.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม

สร้างเมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาดด้วยงานวิจัย : Livable and Smart City by Research ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม รองผู้อำนวยการฝ่ายแผนและยุทธศาสตร์องค์กรหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ในแวดวงงานพัฒนาเมืองด้วยงานวิจัย หลายคนจะคุ้นชินกับชื่อของ ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม …

2 months ago

THE INSIDER : ณัฐธิยาภรณ์ อ้วนวงศ์ นักวิจัยโครงการเมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาด ร้อยเอ็ด และนักวิเคราะห์นโยบายและแผน กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด

“หอโหวดเป็นเพียงจุดเริ่มต้น แต่หลังจากนี้คือกลไกที่เทศบาลต้องทำงานร่วมกับภาคประชาชนและนักวิชาการ ในการกำหนดทิศทางเมืองให้ร้อยเอ็ดพร้อมรับการท่องเที่ยว และทำให้เมืองมีความน่าอยู่ สำหรับผู้คนในเมืองพร้อมกันไปด้วย” “เราเกิดที่ร้อยเอ็ด เรียนมัธยมที่นี่ ก่อนไปเรียนระดับมหาวิทยาลัยที่กรุงเทพฯ ก่อนหน้านี้ สักเกือบ 10 ปีที่แล้ว เราไม่เคยมีความคิดจะกลับมาทำงานที่บ้านเกิดเลยนะ เพราะไม่เห็นโอกาสอะไรในชีวิตในภาพจำเดิมของเรา ร้อยเอ็ดเป็นเมืองผ่าน ไม่มีสถานที่ท่องเที่ยวขึ้นชื่อ ไม่มีแหล่งธรรมชาติสวยๆ…

2 months ago