สร้างเมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาดด้วยงานวิจัย : Livable and Smart City by Research ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม รองผู้อำนวยการฝ่ายแผนและยุทธศาสตร์องค์กรหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ในแวดวงงานพัฒนาเมืองด้วยงานวิจัย หลายคนจะคุ้นชินกับชื่อของ ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม ในฐานะนักวิชาการผู้คร่ำหวอดกับงานพัฒนาเมืองมาร่วม 30 ปี นับตั้งแต่งานพัฒนาเมืองผ่านทุนทางวัฒนธรรมเมืองแม่ฮ่องสอน การพัฒนาเมืองด้วยกลไกบริษัทพัฒนาเมือง และการขับเคลื่อนเมืองแห่งการเรียนรู้ตามกรอบวิจัยของ บพท. ปีนี้ ดร.ปุ่น ในบทบาทรองผู้อำนวยการฝ่ายแผนและยุทธศาสตร์องค์กร หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ร่วมกับคณะทำงาน ได้ริเริ่มโปรแกรมวิจัยใหม่ ผ่านการบูรณาการความร่วมมือระหว่างสมาคมเทศบาลนครและเมือง องค์กรที่เป็นดั่งหัวใจหลักในการเชื่อมโยงเครือข่ายผู้นำเมืองระดับท้องถิ่นครอบคลุมทั่วประเทศ กับมหาวิทยาลัยในพื้นที่
ร้อยเอ็ดอยู่ห่างจาก ‘สะดืออีสาน’ พื้นที่ที่ถูกปักหมุดให้เป็นจุดศูนย์กลางของภาคอีสานในอำเภอโกสุมพิสัย มหาสารคาม เพียง 60 กิโลเมตร ในตำนานอุรังคธาตุ (ตำนานพระธาตุพนม) กล่าวว่า ‘สาเกตนครร้อยเอ็ดประตู’ (ชื่อเดิม) เมืองนี้ มีประตูเท่าจำนวนเมืองขึ้น ‘ร้อยเอ็ดเมือง’ สะท้อนให้เห็นความรุ่งเรืองจากการเป็นศูนย์กลางอำนาจและการคมนาคมของภูมิภาคมาตั้งแต่สมัยพุทธศตวรรษที่ 21อีกทั้ง ส่วนหนึ่งของพื้นที่ยังเป็นที่ตั้งของทุ่งกุลาร้องไห้ ที่ราบขนาดใหญ่กว่า 2 ล้านไร่ ทำให้ในเวลาต่อมา ร้อยเอ็ดจึงเป็นอู่ข้าวที่ผลิตข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาที่ใหญ่ และมีผลิตผลที่ดีที่สุดในโลก แม้มีภูมิหลังที่รุ่งเรือง กระนั้น ตลอดหลายทศวรรษหลัง พร้อมไปกับการเติบโตของจังหวัดขอนแก่นในฐานะศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคอีสาน ร้อยเอ็ดจึงตกอยู่ในสถานะเมืองรอง และถูกจดจำในฐานะเมืองแห่งการเกษตรเมืองหนึ่ง ขาดไร้ภาพจำใด ๆ ที่ช่วยดึงดูดผู้คนให้มาเยือนอย่างน่าเสียดาย อย่างไรก็ดี ภายหลังที่ บรรจง โฆษิตจิรนันนท์ เข้ารับตำแหน่งนายกเทศมนตรีเมืองร้อยเอ็ด ในปี 2538 จุดเปลี่ยนสำคัญก็มาถึง เมื่อแผนการทำร้อยเอ็ดให้น่าอยู่และน่าเที่ยวถูกบรรจุไว้ในแผนพัฒนาเมือง ภูมิทัศน์ของเมืองร้อยเอ็ดค่อย ๆ เปลี่ยนไป ทั้งการบูรณะบึงพลาญชัย การสร้างประตูเมืองจำลอง ‘สาเกตนคร’ ให้เป็นสัญลักษณ์และเชื่อมร้อยกับประวัติศาสตร์เมือง การปรับปรุงภูมิทัศน์คูเมืองโบราณให้น่ามองไปพร้อมกับเพิ่มพื้นที่สีเขียว
THAILAND LIVABLE & SMART CITY MAP
- LIVABLE & SMART CITY
- LIVABLE , SMART & LEARNING CITY
- LEARNING CITY
Topics
Criticism
Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit
World
Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit
Pandemic
Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit
Finance
Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit
Criticism
Join our Mailing List
We hate spams like you do
Satire
Latest
“ปี พ.ศ. 2500 อาม่าเรียนอยู่ชั้น ป.4 ที่โรงเรียนสิ่นหมิน เช้าวันที่ 2 มกราคม อาม่าจะไปโรงเรียนตามปกติ ระหว่างแม่กำลังผูกเปียให้ ได้ยินเสียงคนตะโกนว่าไฟไหม้ อาม่าก็ตื่นเต้นอยากไปดูไฟ เด็กอ่ะเนอะ แม่ก็ไม่ยอม บอกให้ผูกเปียให้เสร็จก่อน จนผูกเปียเสร็จนั่นแหละ คิดว่าไฟไหม้เล็กๆ ที่ไหนได้ เปลวเพลิงใหญ่มากๆ ไฟลามไปทั่ว ทีนี้เตี่ยอาม่าก็เกณฑ์เพื่อนคนจีนที่ทำไร่อยู่แถวนั้นมาช่วยกันขนของ
หากผู้เฒ่าผู้แก่ในย่านไม่บอก เราก็อาจไม่รู้ว่าอันที่จริงลำคลองน้อยๆ ที่ตึกแถวในย่านพากันหันหลังให้ในย่านยมจินดา แต่เดิมคือทางสัญจร และเส้นเลือดหลักในการค้าของเมืองระยอง นั่นคือเมื่อร้อยกว่าปีที่แล้ว เมื่อความเจริญยังไม่ชักพาให้รถราวิ่งบนท้องถนน แม่น้ำจึงเป็นทางคมนาคมหลักที่เชื่อมพ่อค้าจากที่ต่างๆ ทั่วภูมิภาคล่องเรือจากอ่าวไทยสู่ปากแม่น้ำระยอง มาทอดสมอทำการค้าในย่านแห่งนี้ กระทั่งมาถึงสมัยรัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2443 ถนนยมจินดา ถนนสายแรกระยะทางราว 700 เมตรของระยอง ซึ่งตั้งชื่อตามนามสกุลของเจ้าเมืองระยองคนสุดท้าย (เกตุ ยมจินดา)
“ลุงน้อยมีความใฝ่ฝันอยากมีบ้านอยู่ในป่า เนื่องจากชอบเที่ยววนอุทยาน ไปต่างประเทศก็ชอบเที่ยว National Park ไปอุทยานแห่งชาติโยเซมิติที่สหรัฐฯ เกิดแรงบันดาลใจมาก มีต้นไม้ใหญ่ๆ ที่มีอยู่บนโลกนี้ กลับมาคุยกับป้าเล็ก (ภรรยา) ว่าอยากมีป่าเป็นของตัวเอง เลยศึกษา วางแผน ได้ที่ดินแปลงนี้มาปี 2527 เป็นไร่ข้าวโพด มีทางน้ำ ไหลมาจากภูเขา ผมขุดขยายลำน้ำให้ใหญ่ขึ้น มีบึงเก็บน้ำหลายบึงอยู่ในนี้ ทำฝาย
“อบต.หนองน้ำแดง เน้นเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ผ่านมาในอดีต การพัฒนา อาจจะหมายถึงพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน แต่ของเราคือพัฒนาคุณภาพชีวิต หรือการเข้าถึงแหล่งความรู้ ประสานความร่วมมือกับภาคราชการหรือภาคเอกชน มีการจัดฝึกอบรมในเรื่องต่างๆ อยู่เป็นประจำ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาก็เอางบมาทำให้ ภาคเอกชนที่เขาอยากประกอบอาชีพนี้ ฝึกอาชีพนี้ หรือมาเรียนรู้เรื่องนี้ เรามีหน้าที่ประสานความร่วมมือให้เขามาเจอกัน กิจกรรมอบรม เช่น เรื่องการท่องเที่ยว การเสริมทักษะการแปรรูป การขายของออนไลน์ เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวกับผลิตภัณฑ์ชุมชนในท้องถิ่น แหล่งท่องเที่ยวในโซนหนองน้ำแดง
“ปัจจุบันโรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีนักเรียนอยู่ 91 คน บุคลากรทั้งหมด 9 คน จัดเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก คือมีนักเรียนไม่เกิน 120 คน เราเข้าร่วมโครงการอาหารกลางวันของนักเรียน กับโครงการเขาใหญ่ ปากช่อง เมืองอาหารอินทรีย์ ใช้วัตถุดิบกับเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ของเขาใหญ่ พาโนราม่า ฟาร์ม เพราะเห็นว่า ถ้านักเรียนได้กินอาหารที่สะอาด ปลอดจากสารพิษ ก็จะเกิดประโยชน์ต่อสุขภาพร่างกายในระยะยาว ซึ่งทางโรงเรียนก็มีข้อจำกัดเรื่องงบประมาณ
“เราเติบโตมาในครอบครัวทำอาหาร ทั้งปู่ย่าตายาย ทวด คุณพ่อ คุณแม่ ทำอาหารหมดเลย เราเองก็ทำอาหารกับพ่อตั้งแต่เด็ก คุณพ่อ (วิโรจน์ อรุณพันธุ์ ประธานชมรมผู้ประกอบการร้านอาหารเขาใหญ่-ปากช่อง) ทำงานเกี่ยวกับไฟแนนซ์ และเคยเปิดร้านอาหารที่กรุงเทพฯ แล้วพ่อกับแม่ไปหาหมอ เป็นภูมิแพ้ เลยเลือกย้ายมาอยู่เขาใหญ่ เพราะใกล้กรุงเทพฯ อากาศดี ติดอันดับโอโซนของโลก ก็มาทำร้านอาหารครัวบินหลา อยู่บนถนนธนะรัชต์ กิโลเมตรที่
“โรงเรียนบ้านท่าช้าง เป็นการจัดการศึกษาขยายโอกาสคือมีตั้งแต่อนุบาลจนถึงม.3 ปัจจุบันนักเรียน 1,040 คน ข้าราชการครูและบุคลากรทั้งหมด 51 คน ถือเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมาเขต 4 นโยบายโรงเรียนคือนำนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการพร้อมทั้งจุดเน้นของสพฐ. (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน) สู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมชัดเจน เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความปลอดภัย ทุกมิติของนักเรียน ของโรงเรียน ลดความเสี่ยงลงให้ได้มากที่สุด ในเรื่องของโอกาสทางการศึกษา เพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้กับนักเรียน ได้เข้าถึงการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีความเสมอภาคกัน ในเรื่องของประสิทธิภาพ
เชื่อมเครือข่ายหุบเขาแห่งความสุข อำเภอปากช่อง อำเภอแรกสุดของการเดินทางจากถนนมิตรภาพสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีขนาดพื้นที่ใหญ่สุดของจังหวัดนครราชสีมา ประกอบด้วย 12 ตำบล 219 หมู่บ้าน ประชากรราว 190,000 คน มากเป็นอันดับสองรองจากอำเภอเมืองนครราชสีมา ความที่อาณาเขตติดต่อกับอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ พื้นที่มรดกโลกทางธรรมชาติ และอุทยานมรดกแห่งอาเซียน ซึ่งมีระดับโอโซนเป็นอันดับ 7 ของโลก ทำให้ชาวเมืองและผู้มาเยือนได้รับอากาศบริสุทธิ์ ดีต่อสุขภาพ รวมทั้งมีสภาพภูมิอากาศ
“แดรี่โฮมเกิดจากความตั้งใจผลิตน้ำนมที่มีคุณภาพดี เราเห็นปัญหาเยอะของเกษตรกรบ้านเรา ทั้งเรื่องต้นทุนสูง คุณภาพน้ำนมไม่ค่อยดี มีสารปนเปื้อน เรารู้เพราะทำงานในวงการโคนมมาตลอด ถึงจุดที่ตัดสินใจลาออกจากองค์กรเพื่อมาทำตามที่เราคิด แต่ออกมาต้องหาตังค์ใช้ก่อนใช่มั้ย ก็เริ่มทำธุรกิจอาหารสัตว์ ผมว่าผมเป็นคนแรกๆ ที่เอาหญ้าสดมาตัดก้อนขายในเมืองไทย ตอนนั้นคิดว่าที่ง่ายที่สุดคือหญ้า เพราะเป็นของที่เกษตรกรต้องการ แต่เริ่มจากความไม่มีประสบการณ์ ไม่สามารถทำให้เป็นธุรกิจได้ เงินที่ลงก็หายไป แต่ไม่เลิกนะ เราทำต่อ เปลี่ยนสินค้าใหม่ สินค้าตัวนั้นอาจจะยังไม่เป็นที่ต้องการ ณ เวลานั้น
Recent Posts
- [ ผู้คน – การเดินทาง – การพัฒนาเมืองของเราทุกคน ] อ.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม
- THE INSIDER : ณัฐธิยาภรณ์ อ้วนวงศ์ นักวิจัยโครงการเมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาด ร้อยเอ็ด และนักวิเคราะห์นโยบายและแผน กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
- WeCitizens : The Concept
- WeCitizens เมืองร้อยเอ็ด : ก้าวสู่เมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาด
- City View : ๑๐๑ เมืองรองที่ไม่เป็นรองใคร
Recent Comments
Categories
Error: No feed found.
Please go to the Instagram Feed settings page to create a feed.