สร้างเมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาดด้วยงานวิจัย : Livable and Smart City by Research ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม รองผู้อำนวยการฝ่ายแผนและยุทธศาสตร์องค์กรหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ในแวดวงงานพัฒนาเมืองด้วยงานวิจัย หลายคนจะคุ้นชินกับชื่อของ ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม ในฐานะนักวิชาการผู้คร่ำหวอดกับงานพัฒนาเมืองมาร่วม 30 ปี นับตั้งแต่งานพัฒนาเมืองผ่านทุนทางวัฒนธรรมเมืองแม่ฮ่องสอน การพัฒนาเมืองด้วยกลไกบริษัทพัฒนาเมือง และการขับเคลื่อนเมืองแห่งการเรียนรู้ตามกรอบวิจัยของ บพท. ปีนี้ ดร.ปุ่น ในบทบาทรองผู้อำนวยการฝ่ายแผนและยุทธศาสตร์องค์กร หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ร่วมกับคณะทำงาน ได้ริเริ่มโปรแกรมวิจัยใหม่ ผ่านการบูรณาการความร่วมมือระหว่างสมาคมเทศบาลนครและเมือง องค์กรที่เป็นดั่งหัวใจหลักในการเชื่อมโยงเครือข่ายผู้นำเมืองระดับท้องถิ่นครอบคลุมทั่วประเทศ กับมหาวิทยาลัยในพื้นที่
ร้อยเอ็ดอยู่ห่างจาก ‘สะดืออีสาน’ พื้นที่ที่ถูกปักหมุดให้เป็นจุดศูนย์กลางของภาคอีสานในอำเภอโกสุมพิสัย มหาสารคาม เพียง 60 กิโลเมตร ในตำนานอุรังคธาตุ (ตำนานพระธาตุพนม) กล่าวว่า ‘สาเกตนครร้อยเอ็ดประตู’ (ชื่อเดิม) เมืองนี้ มีประตูเท่าจำนวนเมืองขึ้น ‘ร้อยเอ็ดเมือง’ สะท้อนให้เห็นความรุ่งเรืองจากการเป็นศูนย์กลางอำนาจและการคมนาคมของภูมิภาคมาตั้งแต่สมัยพุทธศตวรรษที่ 21อีกทั้ง ส่วนหนึ่งของพื้นที่ยังเป็นที่ตั้งของทุ่งกุลาร้องไห้ ที่ราบขนาดใหญ่กว่า 2 ล้านไร่ ทำให้ในเวลาต่อมา ร้อยเอ็ดจึงเป็นอู่ข้าวที่ผลิตข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาที่ใหญ่ และมีผลิตผลที่ดีที่สุดในโลก แม้มีภูมิหลังที่รุ่งเรือง กระนั้น ตลอดหลายทศวรรษหลัง พร้อมไปกับการเติบโตของจังหวัดขอนแก่นในฐานะศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคอีสาน ร้อยเอ็ดจึงตกอยู่ในสถานะเมืองรอง และถูกจดจำในฐานะเมืองแห่งการเกษตรเมืองหนึ่ง ขาดไร้ภาพจำใด ๆ ที่ช่วยดึงดูดผู้คนให้มาเยือนอย่างน่าเสียดาย อย่างไรก็ดี ภายหลังที่ บรรจง โฆษิตจิรนันนท์ เข้ารับตำแหน่งนายกเทศมนตรีเมืองร้อยเอ็ด ในปี 2538 จุดเปลี่ยนสำคัญก็มาถึง เมื่อแผนการทำร้อยเอ็ดให้น่าอยู่และน่าเที่ยวถูกบรรจุไว้ในแผนพัฒนาเมือง ภูมิทัศน์ของเมืองร้อยเอ็ดค่อย ๆ เปลี่ยนไป ทั้งการบูรณะบึงพลาญชัย การสร้างประตูเมืองจำลอง ‘สาเกตนคร’ ให้เป็นสัญลักษณ์และเชื่อมร้อยกับประวัติศาสตร์เมือง การปรับปรุงภูมิทัศน์คูเมืองโบราณให้น่ามองไปพร้อมกับเพิ่มพื้นที่สีเขียว
THAILAND LIVABLE & SMART CITY MAP
- LIVABLE & SMART CITY
- LIVABLE , SMART & LEARNING CITY
- LEARNING CITY
Topics
Criticism
Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit
World
Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit
Pandemic
Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit
Finance
Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit
Criticism
Join our Mailing List
We hate spams like you do
Satire
Latest
“ผมทำงานบริษัท ช ทวี จำกัด (มหาชน) เป็นทีมทำงานของอาจารย์สุรเดช ทวีแสงสกุลไทย ปีนี้เข้าปีที่ 27 ขณะเดียวกันก็ขับเคลื่อนสมาร์ทฟาร์มและทำเรื่องการพัฒนาสายพันธุ์กัญชาให้บริษัทอีกแห่งที่ผมเป็นซีอีโอด้วย กระทั่งในปี 2563 ขอนแก่นได้รับเลือกให้เป็น 1 ใน 7 จังหวัดแรกของประเทศในการขับเคลื่อนเป็นสมาร์ทซิตี้ โดยบรรจุอยู่ในยุทธศาสตร์จังหวัด แผนที่ 3 ความที่ผมทำงานกับอาจารย์สุรเดชอยู่แล้ว เลยได้รับมอบหมายให้มาเป็นผู้จัดการฝ่ายโครงการเมืองอัจฉริยะ
“ก่อนหน้านี้ผมทำประมงพื้นบ้านที่จังหวัดระยอง ทำอยู่หลายปีเลย จนเมื่อสัก 8-9 ปีที่แล้ว คุณคงได้ยินข่าวเรื่องน้ำมันรั่วลงทะเล นั่นแหละ อาชีพผมเลยไปต่อไม่ได้ เพราะทรัพยากรทางทะเลตอนนั้นมันถูกทำลายหมด ระหว่างที่คิดว่าจะเอายังไงต่อ น้องของภรรยาผมเขาเปิดกิจการที่ขอนแก่นพอดี ก็เลยชวนให้ผมมาช่วยดูแล เคเค ฟาลาเบลล่า ฮอร์ส (KK Falabella Horse) เป็นคาเฟ่ที่ฟาร์มสัตว์ที่เปิดให้ลูกค้าได้ทำกิจกรรมกับสัตว์ ทั้งม้า ม้าแคระ แพะ
“ผมเป็นคนขอนแก่นครับ บ้านอยู่อำเภอน้ำคลองห่างจากตัวเมืองไป 30 – 40 กิโลเมตร เรียนและเติบโตมาในใช้ชีวิตในเมือง ผมเริ่มมาทำงานเกี่ยวข้องกับเทศบาล น่าจะอายุประมาณ 16-17 ตอนนั้นมาเป็นแกนนำสิ่งแวดล้อม เป็นเครือข่ายเด็กกิจกรรมอยู่ในเครือข่ายของโรงเรียนเทศบาลนครขอนแก่น ยุคนั้นประเด็นยอดฮิตจะเป็นเรื่องพลังงาน เรื่องโลกร้อน ตอนนั้นขอนแก่นมีปัญหาขยะล้นเมืองอยู่ด้วย ก็ทำงานแบบนี้มาต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2542 จนมาเป็นครูประจำโรงเรียนเทศบาล คือค่อย ๆ ขยับงานขึ้นมาเรื่อย ๆ จากเป็นอาสาสมัคร
WeCitizens ชวนผู้อ่านมาเรียนรู้เมืองระยอง เมืองแห่งการเรียนรู้ที่ควบคู่ไปกับการพัฒนาอุตสาหกรรมผ่าน E-book ที่ WeCitizens : เสียงระยอง – WeCitizens Flip PDF | AnyFlip
WeCitizens ชวนผู้อ่านทำความรู้จักและเรียนรู้ผู้คนในวิถีเกษตรท่ามกลางธรรมชาติอันยิ่งใหญ่แห่งเมืองเขาใหญ่-ปากช่อง ใน E-book “เสียงเขาใหญ่-ปากช่อง” ที่ WeCitizens : เขาใหญ่-ปากช่อง – WeCitizens Flip PDF | AnyFlip
WeCitizens ชวนผู้อ่านเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวเขาใหญ่และปากช่องที่อยู่ใกล้ชิดธรรมชาติจนนำมาสู่ โคก หนอง นา โมเดลแห่งเขาใหญ่-ปากช่อง ผ่าน infographic ที่เรียนรู้จบภายในภาพเดียว ดาวน์โหลด infographic ปากช่องได้ที่ https://drive.google.com/file/d/1mek_dmwhQb71yi1d23FL90PitS1sSe2m/view?usp=sharing
WeCitizens ชวนผู้อ่านไปฟังเสียงของเมืองหาดใหญ่ผ่านการอ่าน e-book เพื่อทำความรู้จักผู้คนของเมืองแห่งการค้า และร่วมเรียนรู้หาดใหญ่ในฐานะของเมืองแห่งการเรียนรู้ที่ Wecitizens : เสียงหาดใหญ่ – WeCitizens Flip PDF | AnyFlip
WeCitizens ชวนผู้อ่านมาทำความรู้จักเมืองระยองผ่าน infographic ที่จะสรุปให้เห็นข้อมูลของระยองในฐานะของเมืองแห่งการเรียนรู้ที่เดินไปบนทางร่วมระหว่างการพัฒนาอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อม พร้อมดาวน์โหลด infographic ฉบับขยาย 100% ได้ตามลิงค์แนบ ดาวน์โหลดไฟล์ infographic 100% ได้ที่ https://drive.google.com/file/d/1vuq7cS4TeSGhVX5QI44wSYZR5x1anl8_/view?usp=sharing
WeCitizens ชวนผู้อ่านเดินเที่ยวย่านกะดีจีน-คลองสานด้วยแผนที่ที่ UddC ได้จัดทำไว้ เพื่อเป็นไกด์ไลน์ให้ผู้ที่สนใจได้ท่องเที่ยวและเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชน วิถีชีวิตของผู้คนหลากหลายเชื้อชาติศาสนาที่อยู่ร่วมกันในชุมชนย่านนี้มานานนับสองศตวรรษ ดาวน์โหลดแผนที่ฉบับเต็ม 100% ได้ที่ https://drive.google.com/file/d/1z_zrhYjAuNYKbC4jMaGJVK6UvyCXpBVD/view?usp=sharing ดาวน์โหลดแผนที่ฉบับเต็มได้ที่ https://drive.google.com/file/d/12pY02PoLFLD541MM2lBDXFJzeqWb2D28/view?usp=sharing
Recent Posts
- [ ผู้คน – การเดินทาง – การพัฒนาเมืองของเราทุกคน ] อ.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม
- THE INSIDER : ณัฐธิยาภรณ์ อ้วนวงศ์ นักวิจัยโครงการเมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาด ร้อยเอ็ด และนักวิเคราะห์นโยบายและแผน กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
- WeCitizens : The Concept
- WeCitizens เมืองร้อยเอ็ด : ก้าวสู่เมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาด
- City View : ๑๐๑ เมืองรองที่ไม่เป็นรองใคร
Recent Comments
Categories
Error: No feed found.
Please go to the Instagram Feed settings page to create a feed.