สร้างเมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาดด้วยงานวิจัย : Livable and Smart City by Research ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม รองผู้อำนวยการฝ่ายแผนและยุทธศาสตร์องค์กรหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ในแวดวงงานพัฒนาเมืองด้วยงานวิจัย หลายคนจะคุ้นชินกับชื่อของ ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม ในฐานะนักวิชาการผู้คร่ำหวอดกับงานพัฒนาเมืองมาร่วม 30 ปี นับตั้งแต่งานพัฒนาเมืองผ่านทุนทางวัฒนธรรมเมืองแม่ฮ่องสอน การพัฒนาเมืองด้วยกลไกบริษัทพัฒนาเมือง และการขับเคลื่อนเมืองแห่งการเรียนรู้ตามกรอบวิจัยของ บพท. ปีนี้ ดร.ปุ่น ในบทบาทรองผู้อำนวยการฝ่ายแผนและยุทธศาสตร์องค์กร หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ร่วมกับคณะทำงาน ได้ริเริ่มโปรแกรมวิจัยใหม่ ผ่านการบูรณาการความร่วมมือระหว่างสมาคมเทศบาลนครและเมือง องค์กรที่เป็นดั่งหัวใจหลักในการเชื่อมโยงเครือข่ายผู้นำเมืองระดับท้องถิ่นครอบคลุมทั่วประเทศ กับมหาวิทยาลัยในพื้นที่
ร้อยเอ็ดอยู่ห่างจาก ‘สะดืออีสาน’ พื้นที่ที่ถูกปักหมุดให้เป็นจุดศูนย์กลางของภาคอีสานในอำเภอโกสุมพิสัย มหาสารคาม เพียง 60 กิโลเมตร ในตำนานอุรังคธาตุ (ตำนานพระธาตุพนม) กล่าวว่า ‘สาเกตนครร้อยเอ็ดประตู’ (ชื่อเดิม) เมืองนี้ มีประตูเท่าจำนวนเมืองขึ้น ‘ร้อยเอ็ดเมือง’ สะท้อนให้เห็นความรุ่งเรืองจากการเป็นศูนย์กลางอำนาจและการคมนาคมของภูมิภาคมาตั้งแต่สมัยพุทธศตวรรษที่ 21อีกทั้ง ส่วนหนึ่งของพื้นที่ยังเป็นที่ตั้งของทุ่งกุลาร้องไห้ ที่ราบขนาดใหญ่กว่า 2 ล้านไร่ ทำให้ในเวลาต่อมา ร้อยเอ็ดจึงเป็นอู่ข้าวที่ผลิตข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาที่ใหญ่ และมีผลิตผลที่ดีที่สุดในโลก แม้มีภูมิหลังที่รุ่งเรือง กระนั้น ตลอดหลายทศวรรษหลัง พร้อมไปกับการเติบโตของจังหวัดขอนแก่นในฐานะศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคอีสาน ร้อยเอ็ดจึงตกอยู่ในสถานะเมืองรอง และถูกจดจำในฐานะเมืองแห่งการเกษตรเมืองหนึ่ง ขาดไร้ภาพจำใด ๆ ที่ช่วยดึงดูดผู้คนให้มาเยือนอย่างน่าเสียดาย อย่างไรก็ดี ภายหลังที่ บรรจง โฆษิตจิรนันนท์ เข้ารับตำแหน่งนายกเทศมนตรีเมืองร้อยเอ็ด ในปี 2538 จุดเปลี่ยนสำคัญก็มาถึง เมื่อแผนการทำร้อยเอ็ดให้น่าอยู่และน่าเที่ยวถูกบรรจุไว้ในแผนพัฒนาเมือง ภูมิทัศน์ของเมืองร้อยเอ็ดค่อย ๆ เปลี่ยนไป ทั้งการบูรณะบึงพลาญชัย การสร้างประตูเมืองจำลอง ‘สาเกตนคร’ ให้เป็นสัญลักษณ์และเชื่อมร้อยกับประวัติศาสตร์เมือง การปรับปรุงภูมิทัศน์คูเมืองโบราณให้น่ามองไปพร้อมกับเพิ่มพื้นที่สีเขียว
THAILAND LIVABLE & SMART CITY MAP
- LIVABLE & SMART CITY
- LIVABLE , SMART & LEARNING CITY
- LEARNING CITY
Topics
Criticism
Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit
World
Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit
Pandemic
Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit
Finance
Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit
Criticism
Join our Mailing List
We hate spams like you do
Satire
Latest
“ร้านปลาทู นที หัวหิน เราเน้นเมนูปลาทูเป็นวัตถุดิบ เช่น ต้มยำปลาทู แกงส้มพริกนกปลาทู ปลาทูทอดน้ำปลา ข้าวผัดปลาทู เราอุดหนุนพี่น้องประมงเรือเล็กชายฝั่ง เขานั่งเรือเล็กกันสองคนออกไปตอนเช้ามืดแล้วกลับมาสิบโมง เราซื้อปลาทูท้องถิ่นจากประมงชายฝั่งแถวนี้ ประจวบฯ หัวหิน ปราณบุรี บางสะพาน เป็นปลาทูเตี้ยชายฝั่ง ตัวเล็ก มัน อร่อย ปลาทูเราก็ไม่มีฟอร์มาลีน
“ผมเป็นคนหัวหิน ตอนเรียนจบมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี รุ่นพี่ชวนตั้งกลุ่มยายกับตาที่เพชรบุรี ทำค่ายจิตอาสา กิจกรรมเดินท่องเมือง ปั่นจักรยานสองล้อพิทักษ์รักษ์ลำน้ำเพชร ซึ่งทำกันมาจะปีที่ 30 แล้ว ก็เป็นต้นแบบที่เราฟูมฟักสั่งสมประสบการณ์กลับมาทำที่หัวหินบ้านเรา ตั้งกลุ่มกะตอยรัก(ษ์)หัวหิน ออกแบบโลโก้สามตัวคือสามคนที่ตั้งกลุ่มกันมา กะตอยคือปลาหมึกตัวเล็กๆ แก๊งกะตอยก็เหมือนปลาหมึกตัวเล็กๆ ที่ซุกซน เราทำกิจกรรมง่ายๆ เรื่องประเพณี วัฒนธรรมพื้นถิ่นกันมาปีนี้ครบ 10 ปีแล้ว เราคิดแบบเด็กๆ
“หัวหินเป็นเมืองพระราชวัง มีข้าราชบริพารตามเสด็จมา แล้วเขาก็มาเดินเที่ยวชายหาด เขาเดินไปตรงบ้านพักส่วนตัว คนเฝ้าชื่อ ลุงขาว มีอาชีพเลี้ยงม้า ลุงขาวเห็นมีคนมาเที่ยวเยอะ แกก็นึกได้ เอาม้ามาจูงเล่น คนก็อยากขี่ ตั้งแต่นั้นมาเลยเกิดมีม้าให้คนขี่ท่องเที่ยวชายหาดหัวหิน ก็มีมาเป็นร้อยปีแล้ว ตั้งแต่รุ่นพ่อผม ตัวผมนี่ก็อายุจะหกสิบแล้ว ทีนี้พอมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยอะ เราก็ต้องกำหนดราคา ทำให้มีมาตรฐาน ก็เลยตั้งเป็นกลุ่มชมรม ตอนนั้นนายกหนุ่ย (นพพร
“ผมเปิดร้านกาแฟมาก่อน ที่บ้านผมเอง อำเภอสามร้อยยอด อยู่ริมถนนหลักเลย ชื่อ LoftFee ตอนนี้ก็ให้น้องสาวทำเป็นหลัก คือที่บ้านค้าขายอยู่แล้ว ผมตั้งใจทำร้านกาแฟเพราะบ้านผมเป็นอำเภอเล็กๆ เหมือนไม่มีร้านกาแฟที่เป็นร้านจริงจังเลย ผมเรียนจบคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ก็ไม่เกี่ยวกับกาแฟเท่าไหร่ จะมาเปิดร้านกาแฟเลย มันก็เร็วไป คงยาก ก็เลยไปหาประสบการณ์ เป็นลูกจ้างทำร้านกาแฟอยู่หัวหินปีกว่าๆ กรุงเทพฯ ปีกว่าๆ แล้วก็มาเริ่มทำร้านที่บ้าน
“ผมเป็นคนกรุงเทพฯ จบรัฐศาสตร์ รามคำแหง ไม่ใช่สายโรงแรม แต่ทำงานโรงแรมมาตลอด เริ่มงานเป็นคนเปิดประตูหน้าโรงแรมคนแรกของโรงแรมรอยัล ออร์คิด เชอราตัน ทำอยู่ประมาณ 3 ปี แล้วก็ไปทำโรงแรมแชงกรี-ลา กรุงเทพฯ 7 ปีจนเป็นผู้ช่วยฟรอนต์ออฟฟิศ แล้วก็เลื่อนตำแหน่งเป็นผู้จัดการฟรอนต์ออฟฟิศมาอยู่ที่โซฟิเทล เซ็นทรัล หัวหิน ย้ายไปทำโรงแรมบลูเวฟหัวหิน ไปเป็นผู้จัดการส่วนโรงแรมของสนามกอล์ฟ สปริงฟิลด์
“ชุมชนพูลสุขเป็นชุมชนเก่าแก่ของเทศบาลเมืองหัวหินที่จัดตั้ง 40 กว่าปีมาแล้ว ประธานชุมชนตอนนี้เป็นรุ่นที่ 6 แล้ว เป็นเด็กรุ่นใหม่ไฟแรง อัตลักษณ์ของชุมชนพูลสุขมีอารยสถาปัตย์หลายอย่าง เป็นชุมชนดั้งเดิมของเมืองหัวหิน เป็นชุมชนชายทะเล อาชีพหลักคือทำประมงเรือเล็ก มีทำปลาเค็ม หมึกเค็ม แปรรูปส่งขายที่ตลาดฉัตรไชย เป็นชุมชนการฝีมือ ทำเปลือกหอยจากแม่อรุณ คงดี จำหน่ายนักท่องเที่ยว พัดใบตาลของคุณย่าอ้น ดรุณี ใบเกตุ
“หัวหินเป็นประมงชายฝั่ง ไม่มีเรือใหญ่อย่างเรือเก๋ง เรือเครื่อง เพราะภูมิภาคของหัวหินไม่มีคลอง เรือใหญ่เข้ามาจอดไม่ได้ เราก็อยากขยับขนาดเรือประมงให้ใหญ่ขึ้น แต่สถานที่ของเราไม่ได้ ของผมมีเรือเล็ก 1 ลำ เรือปั่นไฟ 2 ลำ ในเรือไดหมึกมีอุปกรณ์ไดไฟ ปั่นไดนาโม ขนาดประมาณ 5-6 เมตร อย่างละ 3 วา
“เราเป็นอาสาสมัครแรงงานจังหวัดปทุมธานี ทีนี้ทางแรงงานจังหวัดอยากให้ประชาชนในพื้นที่มีรายได้ที่เป็นแรงงานนอกระบบ เขาต้องการแกนนำให้ชุมชนได้เรียนรู้ อยู่ร่วมกัน ทำกิจกรรมด้วยกัน ให้คนมีปฏิสัมพันธ์กัน ได้มีรายได้ เราไม่ได้ทำอะไร เป็นแม่บ้าน ก็เข้าไปทำ ในชุมชนมี 900 กว่าหลังคาเรือน ก็ขี่จักรยานถามกันในหมู่บ้านพรพิมานว่าใครอยากทำอะไร ซึ่งเขาต้องการฝึกอาชีพ ก็รวมกันจัดตั้งกลุ่มขึ้นมาเมื่อประมาณปี 2557 ไปร่วมอบรมแล้วมาทำพวกผลิตภัณฑ์ไล่ยุง มัดย้อม จากนั้นก็ไปขึ้นทะเบียนโอทอป เพื่อให้เขาได้เรียนรู้ว่าถ้ามันขายได้ ขึ้นทะเบียนโอทอปได้
“พ่อผมเป็นคนสมุทรสงคราม เป็นทหารเรือเก่าอยู่สถานีเรือกรุงเทพ แล้วก็ย้ายมาอยู่อป. (องค์การประมงทหารเรือ) ที่หัวหินนี่ ทีนี้ทหารเรือมันมีเรือเล็ก พ่อก็เอาเรือออกไปหาปลาได้มาเลี้ยงทั้งกองทัพสบาย สมัยนั้นห้องเย็นไม่มี ก็กินสด แล้วก็ทำปลาเค็มตาก นายก็เอาไปให้คนที่กรุงเทพฯ พ่อก็ว่าไม่ต้องทำแล้วพลทหาร ทำทะเล หาเรือให้ลูกซักลำนึง พี่น้องผม 15-16 คนนะ ผมเห็นพ่อออกเรือได้ปลาอินทรีย์ ปลาอะไรเยอะแยะ มันมีความดีใจ มีความชอบทะเล ก็หนีเรียน
Recent Posts
- [ ผู้คน – การเดินทาง – การพัฒนาเมืองของเราทุกคน ] อ.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม
- THE INSIDER : ณัฐธิยาภรณ์ อ้วนวงศ์ นักวิจัยโครงการเมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาด ร้อยเอ็ด และนักวิเคราะห์นโยบายและแผน กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
- WeCitizens : The Concept
- WeCitizens เมืองร้อยเอ็ด : ก้าวสู่เมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาด
- City View : ๑๐๑ เมืองรองที่ไม่เป็นรองใคร
Recent Comments
Categories
Error: No feed found.
Please go to the Instagram Feed settings page to create a feed.