/

แก่งคอย…ย้อนรอยสงครามโลกเปลี่ยนบาดแผลประวัติศาสตร์สู่เมืองเรียนรู้ตลอดชีวิต

นอกจากจะถูกจดจำจากเพลงดังที่มีชื่อเดียวกับชื่ออำเภอของ ก้าน แก้วสุพรรณ และเพลงฮิตของคาราบาว ซึ่งสื่อถึงที่มาของชื่อ ‘แก่งคอย’ อย่าง ‘แร้งคอย’ หากไม่ใช่คนในพื้นที่ อาจนึกภาพไม่ออกว่าอำเภอของจังหวัดสระบุรีที่เป็นปากทางขึ้นอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่และประตูสู่ภาคอีสาน มีความสำคัญอย่างไร? ไม่เพียงเป็นเมืองท่าที่สำคัญในการขนส่งสินค้าผ่านแม่น้ำป่าสักและทางรถไฟ อำเภอแก่งคอย ยังเป็นจุดเริ่มต้น (ต่อจากอำเภอเมืองสระบุรี) ของถนนมิตรภาพ ถนนสายสำคัญที่รถทุกคันต้องวิ่งผ่านจากกรุงเทพฯ สู่ภาคอีสาน ไม่เพียงเท่านั้น อำเภอแห่งนี้ยังเรียงรายไปด้วยโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โดยเฉพาะโรงงานปูนซีเมนต์ อันเป็นแหล่งผลิตปูนที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ นั่นทำให้ที่นี่ยังเป็นอีกจุดเริ่มต้นของการพัฒนาประเทศด้านการก่อสร้างมาช้านาน ขณะเดียวกัน ผ่านแง่มุมประวัติศาสตร์ นอกจากแก่งคอยและอีกหลายเมืองในสระบุรี รวมถึงจังหวัดใกล้เคียงจะเป็นเมืองที่รัฐสยามได้กวาดต้อนชาวลาว ไทพวน และไทดำจากที่ต่างๆ มาตั้งรกรากในสมัยธนบุรีถึงต้นรัตนโกสินทร์ จนเกิดเป็นอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมอันเข้มแข็งส่งผ่านมาถึงปัจจุบัน ในประวัติศาสตร์ยุคใกล้

ขอนแก่นโมเดล
The Legacy of City Development

เพราะเมือง คือ ผู้คน และผู้คน คือ ตัวแปรสำคัญที่สุดในการพัฒนาเมือง ความเจริญงอกงามทางวัฒนธรรมหรือการเติบโตทางเศรษฐกิจ และมาตรฐานคุณภาพชีวิต จึงขึ้นอยู่กับศักยภาพ ความสามารถ และความร่วมมือร่วมใจของคนในเมืองเป็นฐานสำคัญ กว่าทศวรรษที่ ‘ขอนแก่นโมเดล’ เป็นโมเดลการพัฒนาเมืองที่ได้รับการยอมรับ และพูดถึงในฐานะแนวคิดและปฏิบัติการการพัฒนาเมืองที่ก้าวหน้ามากที่สุด โดยสามารถผสานพลังของคนในเมืองจากทุกภาคส่วน ให้ขยับขับเคลื่อนเดินหน้าด้วยเครื่องมือ และความท้าทายใหม่ๆ อย่างเป็นรูปธรรม กลายเป็นต้นแบบที่สร้างแรงบันดาลใจให้งานพัฒนาเมือง และการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาเมืองให้กับเมืองต่าง ๆ ทั่วประเทศ WeCitizens ฉบับเสียงขอนแก่น จึงอยากชวนทุกท่านนั่ง Time Machine ย้อนเวลาไปทำความเข้าใจถึงการก่อรูป เส้นทาง และมรดก (Legacy)

THAILAND LEARNING CITIES MAP

Topics

Criticism

Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit

World

Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit

Pandemic

Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit

Finance

Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit

Criticism

Join our Mailing List

We hate spams like you do

Satire

Latest

/

อ่านเสียงแก่งคอย เสียงของเมืองที่ก้าวข้ามบาดแผลประวัติศาสตร์มาสู่เมืองแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต

WeCitizens ชวนผู้อ่านเรียนรู้เมืองแก่งคอย เมืองประวัติศาสตร์ที่มีบาดแผลจากสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ในวันนี้ แก่งคอยเปลี่ยนบาดแผลแห่งประวัติศาสตร์เป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต อ่านความคิด วิถีชีวิตผู้คนแก่งคอยได้ที่ WeCitizens : เสียงแก่งคอย, สระบุรี – WeCitizens Flip PDF | AnyFlip

/

ฟังเสียงนครสวรรค์ เมืองศูนย์กลางแห่งภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบน

WeCitizens ชวนผู้อ่านเดินทางไปจังหวัดนครสวรรค์ เมืองที่อยู่กึ่งกลางระหว่างภาคเหนือและภาคกลาง เมืองที่เป็นจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทางทางน้ำในอดีต นครสวรรค์จึงเป็นเมืองสำคัญอีกเมืองหนึ่งในฐานะของเมืองที่เป็นศูนย์กลาง (Hub) ทั้งด้านการค้า การคมนาคม และนำมาซึ่งความหลากหลายทางวัฒนธรรมของผู้คนหลากหลายกลุ่ม โดยเฉพาะชาวจีนโพ้นทะเล E-book ฉบับเสียงนครสวรรค์ฉบับนี้ จะพาผู้อ่านทุกคนไปเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวนครสวรรค์ วัฒนธรรมชาวจีนและเทศกาลตรุษจีนที่มีชื่อเสียงโด่งดังในระดับประเทศและนานาชาติ และไปฟังเสียงผู้คนชาวนครสวรรค์ที่มองบ้านเมืองของตนเองตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน อ่านเรื่องราวเหล่านั้นผ่าน E-book ได้ที่ WeCitizens : เสียงนครสวรรค์ –

/

แก่งคอย…ย้อนรอยสงครามโลกเปลี่ยนบาดแผลประวัติศาสตร์สู่เมืองเรียนรู้ตลอดชีวิต

นอกจากจะถูกจดจำจากเพลงดังที่มีชื่อเดียวกับชื่ออำเภอของ ก้าน แก้วสุพรรณ และเพลงฮิตของคาราบาว ซึ่งสื่อถึงที่มาของชื่อ ‘แก่งคอย’ อย่าง ‘แร้งคอย’ หากไม่ใช่คนในพื้นที่ อาจนึกภาพไม่ออกว่าอำเภอของจังหวัดสระบุรีที่เป็นปากทางขึ้นอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่และประตูสู่ภาคอีสาน มีความสำคัญอย่างไร? ไม่เพียงเป็นเมืองท่าที่สำคัญในการขนส่งสินค้าผ่านแม่น้ำป่าสักและทางรถไฟ อำเภอแก่งคอย ยังเป็นจุดเริ่มต้น (ต่อจากอำเภอเมืองสระบุรี) ของถนนมิตรภาพ ถนนสายสำคัญที่รถทุกคันต้องวิ่งผ่านจากกรุงเทพฯ สู่ภาคอีสาน ไม่เพียงเท่านั้น อำเภอแห่งนี้ยังเรียงรายไปด้วยโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โดยเฉพาะโรงงานปูนซีเมนต์ อันเป็นแหล่งผลิตปูนที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ

/

ขอนแก่นโมเดล
The Legacy of City Development

เพราะเมือง คือ ผู้คน และผู้คน คือ ตัวแปรสำคัญที่สุดในการพัฒนาเมือง ความเจริญงอกงามทางวัฒนธรรมหรือการเติบโตทางเศรษฐกิจ และมาตรฐานคุณภาพชีวิต จึงขึ้นอยู่กับศักยภาพ ความสามารถ และความร่วมมือร่วมใจของคนในเมืองเป็นฐานสำคัญ กว่าทศวรรษที่ ‘ขอนแก่นโมเดล’ เป็นโมเดลการพัฒนาเมืองที่ได้รับการยอมรับ และพูดถึงในฐานะแนวคิดและปฏิบัติการการพัฒนาเมืองที่ก้าวหน้ามากที่สุด โดยสามารถผสานพลังของคนในเมืองจากทุกภาคส่วน ให้ขยับขับเคลื่อนเดินหน้าด้วยเครื่องมือ และความท้าทายใหม่ๆ อย่างเป็นรูปธรรม กลายเป็นต้นแบบที่สร้างแรงบันดาลใจให้งานพัฒนาเมือง และการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาเมืองให้กับเมืองต่าง ๆ

/

“ขอนแก่นเราไม่ใช่เป็นเมืองที่นั่งรอคนเข้ามาทำนู่นนี่ให้”

เมืองขอนแก่น ผู้คน กับการเรียนรู้เพื่อก้าวต่อไป           ไม่มีภูเขา ไม่มีแม่น้ำสายใหญ่ อยู่ไกลโพ้นจากชายทะเล แหล่งท่องเที่ยวมีชื่อ หรือทรัพยากรธรรมชาติสำคัญก็น้อยนิด แต่มีคนที่เอาจริงเอาจังกับการพัฒนาเมืองกลุ่มใหญ่ที่กล้าคิดกล้าฝัน พยายามทำทุกลู่ให้ความหวังเป็นจริงได้ นี่คือปัจจัยที่ทำให้ช่วงเวลาเพียงกึงศตวรรษนำพาเมืองขอนแก่น เติบโตได้อย่างก้าวกระโดด  ‘ผู้คน และความร่วมมือ คือกุญแจสำคัญของการพัฒนาเมือง’           WeCitizens ฉบับเสียงขอนแก่น พาทุกท่านมาร่วมพูดคุย Update งานพัฒนาเมืองขอนแก่น

/

“สำนึกรักท้องถิ่น ถือเป็นหัวใจสำคัญของจิตสำนึกของคนขอนแก่น”

“เมื่อพูดถึงเรื่องเมืองแห่งการเรียนรู้ หรือ Learning City ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่รับผิดชอบของเทศบาลนครขอนแก่น เราดำเนินงานตามวิสัยทัศน์ที่ว่า ‘พัฒนาเมืองสู่สากล สร้างสังคมแห่งความสุข’ การที่เมืองจะพัฒนาได้และสร้างสังคมที่เป็นสุข ต้องเริ่มที่ ‘คน’ คนที่เป็นกำลังสำคัญในการร่วมกันพัฒนาเมือง ยกตัวอย่างในกรณีที่เปรียบเทียบง่าย ๆ เช่น ถ้าเราจะพัฒนาขอนแก่นเป็นเมือง Smart City แต่ถามว่า Smart City จะไม่เกิดขึ้นได้จริง ถ้าเราไม่พัฒนาคนให้เป็น Smart People วิธีการของเทศบาล

/

 “อนาคตของคนรุ่นใหม่กับการอยู่อาศัยในเมือง คือถ้าไม่มีกิจการ หรือเป็นลูกจ้างรัฐ ทำงานราชการ ผมก็นึกไม่ออกจริงๆ ว่างานที่มั่นคงและทำให้เราอยู่กับเมืองได้จริงๆ คืออะไร” 

“ผมขอพูดถึงแวดวงการอ่านของขอนแก่นก่อนนะ จริง ๆ ขอนแก่นมีกลุ่มนักอ่านอยู่ค่อนข้างหลากหลาย แล้วก็เยอะด้วย ส่วนใหญ่จะกระจุกตัวอยู่แถวหลัง มข. แถวย่านกังสดาล มีกิจกรรมพวกบุ๊กคลับอะไรอยู่บ้าง มีร้านหนังสือ และก็พวกคาเฟ่ ร้านอาหารที่มีส่วนของชั้นหนังสือให้ซื้อให้อ่าน ถือว่าบรรยากาศการอ่านโดยรวมน่าสนใจทีเดียว แต่อาจจะไม่ได้คึกคักเท่ากรุงเทพฯ หรือเชียงใหม่  ที่นี่มีงานสัปดาห์หนังสือ จัดปีละ 2 ครั้ง ส่วนใหญ่ก็จะเป็นสำนักพิมพ์ใหญ่ๆ มาลง แล้วก็พวกผู้ค้าที่ตระเวนตามงานหนังสือ

/

“คนยุคนั้นจะมองว่าใครมีบ้านอยู่ศรีจันทร์นั้นน่าอิจฉา  เพราะว่าทุกอย่างอยู่ที่นั่นหมด เป็นย่านที่เป็นเหมือนห้างสรรพสินค้าของเมืองขอนแก่น”

          “ตระกูลของผมเริ่มต้นมาจากรุ่นอากงท่านมาจากเมืองจีน ลงหลักปักฐานที่ขอนแก่นกับกิจการร้านโชห่วย แล้วคุณพ่อก็สืบทอดธุรกิจต่อมาอีกที ผมเป็นรุ่นที่ 3 แล้วครับ ขายของทั้งปลีกและส่งใน จ.ขอนแก่น ครอบครัวเรามีร้านและบ้านในย่านศรีจันทร์ แม้ตอนนี้ร้านใหญ่จะย้ายมาอยู่นอกเมือง แต่ทุกวันนี้เราก็ยังมีสาขาที่ศรีจันทร์ ที่ขยายมาข้างนอกเพราะต้องทำคลังสินค้า ที่ในไม่พอก็เลยต้องย้ายทั้งออฟฟิศทั้งคลังออกมาอยู่ข้างนอก แต่ทุกวันนี้เราก็ยังอาศัยนอนกันอยู่ที่ศรีจันทร์ทุกวันครับ ส่วนตัวผมจบด้านการเงิน แต่จริง ๆ เราไม่ค่อยชอบเท่าไหร่ ผมชอบค้าขายกับเรื่องการตลาดมากกว่า เพียงแต่ว่าตอนเข้ามหาวิทยาลัย ตอนนั้น

/

“ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องก็ต้องประชาสัมพันธ์เยอะขึ้น เพราะพูดตรง ๆ นะครับ ผมแทบไม่ค่อยได้รับรู้เรื่องข่าวผ่านการประชาสัมพันธ์แบบจริงจัง ได้ยินคนเขาคุยกันมาเฉย ๆ ยังไม่เห็นรูปร่าง ไม่รู้ว่าจะเริ่มสร้างสถานีตรงไหน หรือใช้ถนนเส้นไหนในการเดินรถ”

“ผมมีบ้านอยู่ที่นี่ครับ แต่ไปทำงานที่อื่น ไม่ได้อยู่ขอนแก่นมา 17 ปีแล้ว คือ พึ่งกลับมาได้ไม่นาน พอมาถึงก็รู้สึกแปลกใจพอสมควร เพราะขอนแก่นเปลี่ยนไปเยอะมาก พัฒนาขึ้นมีอะไร ๆ ที่เหมือนเมืองใหญ่ ๆ มี ผมจึงมาเริ่มทำร้านกาแฟ ตอนแรกก็คิดอยู่ว่า คนจะกินกันเยอะไหมนะ คนจะอินรึเปล่า แบบที่เราเห็นเทรนด์ในเมืองอื่น ๆ ไปมา ๆ

1 2 3 61

Recent Comments

No comments to show.

Follow

Instagram

This error message is only visible to WordPress admins

Error: No feed found.

Please go to the Instagram Feed settings page to create a feed.

Video