สร้างเมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาดด้วยงานวิจัย : Livable and Smart City by Research ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม รองผู้อำนวยการฝ่ายแผนและยุทธศาสตร์องค์กรหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ในแวดวงงานพัฒนาเมืองด้วยงานวิจัย หลายคนจะคุ้นชินกับชื่อของ ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม ในฐานะนักวิชาการผู้คร่ำหวอดกับงานพัฒนาเมืองมาร่วม 30 ปี นับตั้งแต่งานพัฒนาเมืองผ่านทุนทางวัฒนธรรมเมืองแม่ฮ่องสอน การพัฒนาเมืองด้วยกลไกบริษัทพัฒนาเมือง และการขับเคลื่อนเมืองแห่งการเรียนรู้ตามกรอบวิจัยของ บพท. ปีนี้ ดร.ปุ่น ในบทบาทรองผู้อำนวยการฝ่ายแผนและยุทธศาสตร์องค์กร หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ร่วมกับคณะทำงาน ได้ริเริ่มโปรแกรมวิจัยใหม่ ผ่านการบูรณาการความร่วมมือระหว่างสมาคมเทศบาลนครและเมือง องค์กรที่เป็นดั่งหัวใจหลักในการเชื่อมโยงเครือข่ายผู้นำเมืองระดับท้องถิ่นครอบคลุมทั่วประเทศ กับมหาวิทยาลัยในพื้นที่
ร้อยเอ็ดอยู่ห่างจาก ‘สะดืออีสาน’ พื้นที่ที่ถูกปักหมุดให้เป็นจุดศูนย์กลางของภาคอีสานในอำเภอโกสุมพิสัย มหาสารคาม เพียง 60 กิโลเมตร ในตำนานอุรังคธาตุ (ตำนานพระธาตุพนม) กล่าวว่า ‘สาเกตนครร้อยเอ็ดประตู’ (ชื่อเดิม) เมืองนี้ มีประตูเท่าจำนวนเมืองขึ้น ‘ร้อยเอ็ดเมือง’ สะท้อนให้เห็นความรุ่งเรืองจากการเป็นศูนย์กลางอำนาจและการคมนาคมของภูมิภาคมาตั้งแต่สมัยพุทธศตวรรษที่ 21อีกทั้ง ส่วนหนึ่งของพื้นที่ยังเป็นที่ตั้งของทุ่งกุลาร้องไห้ ที่ราบขนาดใหญ่กว่า 2 ล้านไร่ ทำให้ในเวลาต่อมา ร้อยเอ็ดจึงเป็นอู่ข้าวที่ผลิตข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาที่ใหญ่ และมีผลิตผลที่ดีที่สุดในโลก แม้มีภูมิหลังที่รุ่งเรือง กระนั้น ตลอดหลายทศวรรษหลัง พร้อมไปกับการเติบโตของจังหวัดขอนแก่นในฐานะศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคอีสาน ร้อยเอ็ดจึงตกอยู่ในสถานะเมืองรอง และถูกจดจำในฐานะเมืองแห่งการเกษตรเมืองหนึ่ง ขาดไร้ภาพจำใด ๆ ที่ช่วยดึงดูดผู้คนให้มาเยือนอย่างน่าเสียดาย อย่างไรก็ดี ภายหลังที่ บรรจง โฆษิตจิรนันนท์ เข้ารับตำแหน่งนายกเทศมนตรีเมืองร้อยเอ็ด ในปี 2538 จุดเปลี่ยนสำคัญก็มาถึง เมื่อแผนการทำร้อยเอ็ดให้น่าอยู่และน่าเที่ยวถูกบรรจุไว้ในแผนพัฒนาเมือง ภูมิทัศน์ของเมืองร้อยเอ็ดค่อย ๆ เปลี่ยนไป ทั้งการบูรณะบึงพลาญชัย การสร้างประตูเมืองจำลอง ‘สาเกตนคร’ ให้เป็นสัญลักษณ์และเชื่อมร้อยกับประวัติศาสตร์เมือง การปรับปรุงภูมิทัศน์คูเมืองโบราณให้น่ามองไปพร้อมกับเพิ่มพื้นที่สีเขียว
THAILAND LIVABLE & SMART CITY MAP
- LIVABLE & SMART CITY
- LIVABLE , SMART & LEARNING CITY
- LEARNING CITY
Topics
Criticism
Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit
World
Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit
Pandemic
Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit
Finance
Ius ea rebum nostrum offendit. Per in recusabo facilisis, est ei choro veritus gloriatur. Has ut dicant fuisset percipit
Criticism
Join our Mailing List
We hate spams like you do
Satire
Latest
“แต่เดิมหนังใหญ่เล่นกันเฉพาะในวัง นักแสดงเป็นเพศชายล้วน มีหลักฐานว่าเริ่มต้นมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ก่อนที่การแสดงนี้จะแพร่ออกมาจัดในวัด และมาถึงชุมชนในที่สุด จังหวัดระยองไม่เคยมีการแสดงหนังใหญ่ กระทั่งราวร้อยกว่าปีที่แล้ว พระยาศรีสมุทไชยโชคชิตสงคราม (เกตุ ยมจินดา) เจ้าเมืองระยอง (พ.ศ. 2408-2436) ได้ติดต่อซื้อตัวหนังประมาณ 200 ตัวมาจากพัทลุง และว่าจ้างครูประดิษฐ์ให้ขึ้นมาฝึกสอนคนในบังคับของท่าน เพื่อจัดแสดงในระยองและจังหวัดในภาคตะวันออก หลังจากเจ้าเมืองท่านเสียชีวิต หนังใหญ่ก็ถูกเก็บไว้ที่วัดเก๋ง (วัดจันทอุดม ปัจจุบันคือที่ตั้งของโรงพยาบาลระยอง
“ผมเป็นชาวประมงที่ล่องเรือลำแรกๆ พาชาวประมงจากปากน้ำประแส (อ.แกลง จ.ระยอง) ไปจับปลาทูน่าไกลถึงน่านน้ำอินโดนีเซีย นั่นคือเมื่อราว 40 ปีที่แล้ว สมัยนั้นยังไม่มี GPS ใช้แค่แผนที่ทหารเรือที่มีเข็มทิศ ทาบมาตราส่วนเอาว่าจากอ่าวไทยลงไปปัตตานี มาเลเซีย จนเลยไปถึงอินโดนีเซียนี่กี่ไมล์และใช้เวลากี่วัน ก็ค่อยๆ เรียนรู้ไปจนชำนาญ จากนั้นชาวประมงจากประแสก็พากันล่องใต้ไปจับทูน่าหาเงินได้เป็นถุงเป็นถังกันหมด สมัยนั้นถ้าพูดถึงประมงพาณิชย์ที่ออกเรือไปจับปลาไกลๆ มีไม่กี่ที่หรอกที่หาปลาได้เก่งและสร้างเม็ดเงินได้เยอะ ประแสของเรานี่ที่หนึ่งล่ะ ปากน้ำระยองอีกที่หนึ่ง และอีกที่คือประมงจากปัตตานี
“โดยตำแหน่ง ผมจะรับผิดชอบด้านการศึกษาของเทศบาลนครระยอง ก็ดูแลโรงเรียนทั้งหมด 6 โรงเรียนในเขตเทศบาล โดยในจำนวนนั้นมีโรงเรียนระดับมัธยมอยู่ 1 โรงเรียน นั่นคือนครระยองวิทยาคม จริงอยู่ที่ระยองได้รับการจัดอันดับให้เป็นจังหวัดที่มี GDP สูงที่สุดในประเทศ แต่ตามข้อเท็จจริง GDP เราไม่ได้กระจายถึงทุกคนอย่างทั่วถึง เทศบาลเรามีประชากรราว 50,000-60,000 คน แต่มีประชากรแฝง หรือคนที่ย้ายเข้ามาทำงานในเมืองหลักแสนคนได้ น่าเสียดายที่คนระยองแท้ๆ ที่ไม่ได้ทำงานอยู่ในภาคอุตสาหกรรม
*การระบุระยะเวลา 2,000 ปีในชื่อบทความ นำมาจากยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย ที่มีการค้นพบโบราณวัตถุและโครงกระดูกของมนุษย์ยุคนั้นบริเวณแหล่งโบราณคดีบ้านโคกพริก อำเภอเมืองราชบุรี ดังที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชวลิต ขาวเขียว อาจารย์คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร และหัวหน้าโครงการวิจัยราชบุรีเมืองแห่งการเรียนรู้ (พ.ศ. 2564-2565) ให้สัมภาษณ์ไว้ – “แทบไม่มีจังหวัดไหนในประเทศไทยที่คุณมาเที่ยวแค่วันเดียว แต่ได้เรียนรู้รากเหง้าของคนไทยตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์มาถึงปัจจุบันได้ครบ” (อ่านเพิ่มเติมได้ในบทสัมภาษณ์ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชวลิต ขาวเขียว) กองบรรณาธิการ
We Citizens Thailand ชวนมาทำความรู้จักกับ “คลองเตยลิงค์” งานวิจัยหาดใหญ่ เมืองแห่งการเรียนรู้ผ่าน infographic ที่จะทำให้เห็นภาพของเมืองหาดใหญ่ การพัฒนา และการเรียนรู้ ดาวน์โหลด infographic ฉบับขยาย 100% ได้ที่ infographic คลองเตยลิงค์
We Citizens Thailand ชวนมารู้จักหาดใหญ่ เมืองแห่งชีวิตและการค้าที่คึกคักผ่าน infographic ที่จะทำให้ได้รู้จักหาดใหญ่ในเวลาอันรวดเร็ว ดาวน์โหลด infographic ฉบับขยาย 100% ได้ที่ infographic หาดใหญ่เมืองแห่งชีวิตและการค้า
We Citizens Thailand ชวนเรียนรู้การเดินทางบนเส้นเวลาอันยาวนานของเมืองหาดใหญ่ผ่าน infographic ที่จะทำให้เห็นภาพของการเติบโตของเมืองการค้าแห่งนี้ได้ชัดเจนขึ้น ดาวน์โหลด infographic ฉบับขยาย 100% ได้ที่ infographic timeline เมืองหาดใหญ่01 ดาวน์โหลด infographic ฉบับขยาย 100% ได้ที่ infographic timeline เมืองหาดใหญ่02
We Citizens Thailand ชวนผู้อ่านร่วมเรียนรู้วิถีชีวิตชาวปากพูน นครศรีธรรมราช เรียนรู้วิถีชีวิตคนปากอ่าวผ่าน infographic ที่จะทำให้เข้าใจวิถีชีวิตของผู้คนที่ใช้ชีวิตกับการประมง ป่าชายเลน และความสุข ดาวน์โหลด infographic ได้ที่ https://drive.google.com/file/d/1tLKi6QuFtVoNcpKDJvMnOwpOrke3wbd8/view?usp=sharing
We Citizens Thailand ชวนเรียนรู้ปทุมธานี-ธัญบุรี เมืองแห่งการเรียนรู้ เมืองแห่งพิพิธภัณฑ์ ผ่าน infographic ที่จะทำให้เห็นภาพเส้นทางของการเรียนรู้ได้ชัดเจน ดาวน์โหลด infographic ฉบับขยาย 100% ได้ที่ https://drive.google.com/file/d/14HqV4KyvkjEaXNVn3axSZJ-b9eLehE8D/view?usp=sharing #ชุดโครงการกลไกความร่วมมือในการส่งเสริมเศรษฐกิจท้องถิ่น
Recent Posts
- [เมืองเหนือ : เมืองวัฒนธรรม เกษตร ผู้สูงอายุ และ E-sport city] ผศ. ดร.จุฑาทิพย์ เฉลิมผล
- [ CIAP 4 ภาค ผลักดันต้นแบบเมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาด ด้วยพลังท้องถิ่น และงานวิจัย ] ผศ. ดร.มณีรัตน์ วงษ์ซิ้ม
- [ ผู้คน – การเดินทาง – การพัฒนาเมืองของเราทุกคน ] อ.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม
- THE INSIDER : ณัฐธิยาภรณ์ อ้วนวงศ์ นักวิจัยโครงการเมืองน่าอยู่ที่ชาญฉลาด ร้อยเอ็ด และนักวิเคราะห์นโยบายและแผน กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด
- WeCitizens : The Concept
Recent Comments
Categories
Error: No feed found.
Please go to the Instagram Feed settings page to create a feed.